Menu
[--mobilemenu--]
บราวเซอร์ของท่านไม่สนับสนุนหรือปิดการใช้งาน javascript ซึ่งจะไม่สามารถใช้งานไซต์บางส่วนเช่นการเข้าลิ้งค์ หรือโพสข้อความได้ตามปกติ, กรุณาเปิดการใช้งาน javascript เพื่อที่จะใช้งานเว็บ gconhubม หากมีปัญหาในการใช้งาน หรือต้องการสอบถามเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ [email protected] หรือ [email protected]
This thread is locked
สนทนาประสาการเมือง ��าค VII

Reply
Vote
# Fri 17 Nov 2017 : 2:26PM

PNA888
member

Since 2014-09-08 12:28:47
(4154 post)
ระบบการศึกษาของบ้านเราถ้าจะให้พูดตรง ๆ ก็คือแพะนั่นแล จะเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาให้ได้ผล มันต้องปรับเปลี่ยนแนวคิดรวมถึงโครงสร้างของสังคมเลย

ตั้งแต่เกิด ประถม มัธยม มหาลัย การคัดคนเข้าทำงาน บลา ๆ มันไม่ใช่แค่เปลี่ยนแปลงเนื้อหาการเรียนการสอนเท่านั้น

เหมือนกับการแก้ปัญหาการจราจร ทางแก้มี แต่สังคมรับไม่ได้ ไม่ยอมรับ หลาย ๆ อย่าง มันไม่มีทางแก้หรอก
View all 8 comments >
Fri 17 Nov 2017 : 2:54PM

"MnemoniC"
member

Since 2015-12-08 01:43:55
(5805 post)
ระดับวิทยาลัยโครงสร้างสถานศึกษายึดหลักแนวความคิดแบบรุ่นก่อตั้งสถาบัน จะมีทัศนอุดมคติที่ไม่ค่อยตามนโยบายของภาครัฐซักเท่าไหร่ คือจบมาต้องหางานทำไม่ใช่เข้าไปศึกษาหาความรู้ ไม่แปลกที่จะมีความล้าหลังและหลักสูตรที่ไม่ครอบคลุม และเรียนในสาขาอาชีพที่ไม่ได้มีความถนัดหรือชอบในสายนั้น
ปัญหาคือยังคงพยายามยัดความเป็นสถาบันใส่หัวนักศึกษา ไม่ได้สอนพัฒนาให้ความรู้เพื่อไปใช้ชีวิตในสังคม

บวกกับความเหลื่อมล้ำของโรงเรียนเอกชนกับรัฐบาลที่ยังเป็นปัญหาของระดับความน่าเชื่อถือสถาบัน มันก็สมควรเปลี่ยนระบบการศึกษาใหม่ทั้งระบบเหมือนกัน แต่ก็ไม่ใช่ทั้งระบบการศึกษาที่เป็นช่องโหว่และบกพร่อง แต่หากไม่ปรับปรุงให้ทันสมัยขึ้นและยังใช้บรรทัดฐานเดิมๆในการสอน ส่งลูกหลานไปเรียนต่อเมืองนอกคือทางออกดีที่สุดแล้ว
นี่แหละ... คือความจริงยากเรียนเก่งไปเรียนเมืองนอก แต่ทุนเรียนและครอบครัวที่พร้อมส่งลูกหลานออกไป มันมีไม่ถึง 5%ของนักเรียนทั้งหมดครับ

Fri 17 Nov 2017 : 3:06PM

PNA888
member

Since 2014-09-08 12:28:47
(4154 post)
"MnemoniC";2318327 wrote:
ระดับวิทยาลัยโครงสร้างสถานศึกษายึดหลักแนวความคิดแบบรุ่นก่อตั้งสถาบัน จะมีทัศนอุดมคติที่ไม่ค่อยตามนโยบายของภาครัฐซักเท่าไหร่ คือจบมาต้องหางานทำไม่ใช่เข้าไปศึกษาหาความรู้ ไม่แปลกที่จะมีความล้าหลังและหลักสูตรที่ไม่ครอบคลุม และเรียนในสาขาอาชีพที่ไม่ได้มีความถนัดหรือชอบในสายนั้น
ปัญหาคือยังคงพยายามยัดความเป็นสถาบันใส่หัวนักศึกษา ไม่ได้สอนพัฒนาให้ความรู้เพื่อไปใช้ชีวิตในสังคม

บวกกับความเหลื่อมล้ำของโรงเรียนเอกชนกับรัฐบาลที่ยังเป็นปัญหาของระดับความน่าเชื่อถือสถาบัน มันก็สมควรเปลี่ยนระบบการศึกษาใหม่ทั้งระบบเหมือนกัน แต่ก็ไม่ใช่ทั้งระบบการศึกษาที่เป็นช่องโหว่และบกพร่อง แต่หากไม่ปรับปรุงให้ทันสมัยขึ้นและยังใช้บรรทัดฐานเดิมๆในการสอน ส่งลูกหลานไปเรียนต่อเมืองนอกคือทางออกดีที่สุดแล้ว
นี่แหละ... คือความจริงยากเรียนเก่งไปเรียนเมืองนอก แต่ทุนเรียนและครอบครัวที่พร้อมส่งลูกหลานออกไป มันมีไม่ถึง 5%ของนักเรียนทั้งหมดครับ


จบนอกมา ไม่มีเส้นสายก็ไม่มีงานครับ เพราะทุกวันนี้ที่จบมา กว่า 8 ใน 10 จบจากที่ไหนไม่รู้ จบแบบเร่งรัดขายวุฒิ ปีเดียวจบ หลาย ๆ อย่าง มันทำให้น่าเชื่อถือน้อยลงเยอะแล้วครับตอนนี้ เพราะหลายครอบครัวที่มีเงิน แต่ลูกหลานมันไม่มีปัญญาเรียนในไทยเลยส่งไปนอก จบกะโหลกกะลาอะไรมาก็ไม่รู้

นอกจากได้ทุนหลวง ไม่ก็จบสถาบันดังแบบปรกติ ไม่ใช่คอสขายเอาเงิน แบบพวกคอสอินเตอร์ในบ้านเรา

Fri 17 Nov 2017 : 3:35PM

"MnemoniC"
member

Since 2015-12-08 01:43:55
(5805 post)
PNA888 wrote:
"MnemoniC";2318327 wrote:
ระดับวิทยาลัยโครงสร้างสถานศึกษายึดหลักแนวความคิดแบบรุ่นก่อตั้งสถาบัน จะมีทัศนอุดมคติที่ไม่ค่อยตามนโยบายของภาครัฐซักเท่าไหร่ คือจบมาต้องหางานทำไม่ใช่เข้าไปศึกษาหาความรู้ ไม่แปลกที่จะมีความล้าหลังและหลักสูตรที่ไม่ครอบคลุม และเรียนในสาขาอาชีพที่ไม่ได้มีความถนัดหรือชอบในสายนั้น
ปัญหาคือยังคงพยายามยัดความเป็นสถาบันใส่หัวนักศึกษา ไม่ได้สอนพัฒนาให้ความรู้เพื่อไปใช้ชีวิตในสังคม

บวกกับความเหลื่อมล้ำของโรงเรียนเอกชนกับรัฐบาลที่ยังเป็นปัญหาของระดับความน่าเชื่อถือสถาบัน มันก็สมควรเปลี่ยนระบบการศึกษาใหม่ทั้งระบบเหมือนกัน แต่ก็ไม่ใช่ทั้งระบบการศึกษาที่เป็นช่องโหว่และบกพร่อง แต่หากไม่ปรับปรุงให้ทันสมัยขึ้นและยังใช้บรรทัดฐานเดิมๆในการสอน ส่งลูกหลานไปเรียนต่อเมืองนอกคือทางออกดีที่สุดแล้ว
นี่แหละ... คือความจริงยากเรียนเก่งไปเรียนเมืองนอก แต่ทุนเรียนและครอบครัวที่พร้อมส่งลูกหลานออกไป มันมีไม่ถึง 5%ของนักเรียนทั้งหมดครับ


จบนอกมา ไม่มีเส้นสายก็ไม่มีงานครับ เพราะทุกวันนี้ที่จบมา กว่า 8 ใน 10 จบจากที่ไหนไม่รู้ จบแบบเร่งรัดขายวุฒิ ปีเดียวจบ หลาย ๆ อย่าง มันทำให้น่าเชื่อถือน้อยลงเยอะแล้วครับตอนนี้ เพราะหลายครอบครัวที่มีเงิน แต่ลูกหลานมันไม่มีปัญญาเรียนในไทยเลยส่งไปนอก จบกะโหลกกะลาอะไรมาก็ไม่รู้

นอกจากได้ทุนหลวง ไม่ก็จบสถาบันดังแบบปรกติ ไม่ใช่คอสขายเอาเงิน แบบพวกคอสอินเตอร์ในบ้านเรา
เพราะยัดใส่หัวเด็กว่าเรียนจบต้องมีงานดีๆทำ ใครไม่เรียนก็ไปทำนาเลี้ยงวัวเลี้ยงควายกัน ค่านิยมเรียนสูงๆเพื่อสบายไม่ต้องทำนา มันโดนสถานศึกษาเอาความคิดนี้ให้นักเรียนเพื่อเห็นแก่ตัว

คือสอนให้เป็นคนดีจบไปเลือกใช้วิถีชีวิตตัวเองเลยในปัจจุบัน ยังไม่มีใครกล้าคิดออกมาเป็นรูปธรรมซักสถาบัน ถ้าอยากเป็นครูไปเรียนราชภัฏ เรียนวิทยาลัยพยาบาลเพื่ออยู่กับหมอ อยากเป็นวิศวกรเรียนมหาลัยดีๆ อยากเป็นนักการเมืองเรียนธรรมศาสตร์จุฬา

เพราะโครงสร้างมันออกแบบอย่างนี้ตั้งแต่ยุคไดโนเสาร์แล้ว มันเหมือนโดนบังคับให้ไปในทางที่มีให้เลือกเพียงแค่นี้ ไม่แปลกที่คนเรียนเก่งอย่างไรก็ไม่สู้เส้นสายเพื่อทำงาน เพราะหลักสูตรกับการหางานมันไม่มีความบาลานซ์กัน

แล้วยิ่งสถาบันนี้โรงเรียนนั้นเป็นแค่ทางผ่านของคนไปหางานทำ มันเลยกลายเป็นธุรกิจที่สามารถเรียกค่าบริจาคเก็บค่าหน่วยกิต ได้เต็มเม็ดเต็มหน่วยแบบไม่เรียนกับเราก็ไม่ง้อเพราะสามารถออกวุฒิให้ได้

ควรปรับปรุงทั้งระบบเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว แล้วการฝากงานต้องทำใจถ้าเราไม่เก่งจริงๆ เพราะสังคมไทยคือคนเห็นแก่ตัวและผลประโยชน์ตัวเอง อยู่ให้เป็นเรียนให้เก่งมีบารมีซักนิดจะอยู่ได้แบบสบาย
[Edited 1 times "MnemoniC" - Last Edit 2017-11-18 04:40:05]

Fri 17 Nov 2017 : 4:25PM

PNA888
member

Since 2014-09-08 12:28:47
(4154 post)
"MnemoniC";2318359 wrote:
PNA888 wrote:
"MnemoniC";2318327 wrote:
ระดับวิทยาลัยโครงสร้างสถานศึกษายึดหลักแนวความคิดแบบรุ่นก่อตั้งสถาบัน จะมีทัศนอุดมคติที่ไม่ค่อยตามนโยบายของภาครัฐซักเท่าไหร่ คือจบมาต้องหางานทำไม่ใช่เข้าไปศึกษาหาความรู้ ไม่แปลกที่จะมีความล้าหลังและหลักสูตรที่ไม่ครอบคลุม และเรียนในสาขาอาชีพที่ไม่ได้มีความถนัดหรือชอบในสายนั้น
ปัญหาคือยังคงพยายามยัดความเป็นสถาบันใส่หัวนักศึกษา ไม่ได้สอนพัฒนาให้ความรู้เพื่อไปใช้ชีวิตในสังคม

บวกกับความเหลื่อมล้ำของโรงเรียนเอกชนกับรัฐบาลที่ยังเป็นปัญหาของระดับความน่าเชื่อถือสถาบัน มันก็สมควรเปลี่ยนระบบการศึกษาใหม่ทั้งระบบเหมือนกัน แต่ก็ไม่ใช่ทั้งระบบการศึกษาที่เป็นช่องโหว่และบกพร่อง แต่หากไม่ปรับปรุงให้ทันสมัยขึ้นและยังใช้บรรทัดฐานเดิมๆในการสอน ส่งลูกหลานไปเรียนต่อเมืองนอกคือทางออกดีที่สุดแล้ว
นี่แหละ... คือความจริงยากเรียนเก่งไปเรียนเมืองนอก แต่ทุนเรียนและครอบครัวที่พร้อมส่งลูกหลานออกไป มันมีไม่ถึง 5%ของนักเรียนทั้งหมดครับ


จบนอกมา ไม่มีเส้นสายก็ไม่มีงานครับ เพราะทุกวันนี้ที่จบมา กว่า 8 ใน 10 จบจากที่ไหนไม่รู้ จบแบบเร่งรัดขายวุฒิ ปีเดียวจบ หลาย ๆ อย่าง มันทำให้น่าเชื่อถือน้อยลงเยอะแล้วครับตอนนี้ เพราะหลายครอบครัวที่มีเงิน แต่ลูกหลานมันไม่มีปัญญาเรียนในไทยเลยส่งไปนอก จบกะโหลกกะลาอะไรมาก็ไม่รู้

นอกจากได้ทุนหลวง ไม่ก็จบสถาบันดังแบบปรกติ ไม่ใช่คอสขายเอาเงิน แบบพวกคอสอินเตอร์ในบ้านเรา
เพราะยัดใส่หัวเด็กว่าเรียนจบต้องมีงานดีๆทำ ใครไม่เรียนก็ไปทำนาเลี้ยงวัวเลี้ยงควายกัน ค่านิยมเรียนสูงๆเพื่อสบายไม่ต้องทำนา มันโดนสถานศึกษาเอาความคิดนี้ให้นักเรียนเพื่อเห็นแก่ตัว

คือสอนให้เป็นคนดีจบไปเลือกใช้วิถีชีวิตตัวเองเลยในปัจจุบัน ยังไม่มีใครกล้าคิดออกมาเป็นรูปธรรมซักสถาบัน ถ้าอยากเป็นครูไปเรียนราชภัฏ เรียนวิทยาลัยพยาบาลเพื่ออยู่กับหมอ อยากเป็นวิศวกรเรียนมหาลัยดีๆ อยากเป็นนักการเมืองเรียนธรรมศาสตร์จุฬา

เพราะโครงสร้างมันออกแบบอย่างนี้ตั้งแต่ยุคไดโนเสาร์แล้ว มันเหมือนโดนบังคับให้ไปในทางที่มีให้เลือกเพียงแค่นี้ ไม่แปลกที่คนเรียนเก่งอย่างไรก็ไม่สู้เส้นสายเพื่อทำงาน เพราะหลักสูตรกับการหางานมันไม่มีความบาลานซ์กัน

แล้วยิ่งสถาบันนี้โรงเรียนนั้นเป็นแค่ทางผ่านของคนไปหางานทำ มันเลยกลายเป็นธุรกิจที่สามารถเรียกค่าบริจากหน่วยกิต ได้เต็มเม็ดเต็มหน่วยแบบไม่เรียนกับเราก็ไม่ง้อเพราะสามารถออกวุฒิให้ได้

ควรปรับปรุงทั้งระบบเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว แล้วการฝากงานต้องทำใจถ้าเราไม่เก่งจริงๆ เพราะสังคมไทยคือคนเห็นแก่ตัวและผลประโยชน์ตัวเอง อยู่ให้เป็นเรียนให้เก่งมีบารมีซักนิดจะอยู่ได้แบบสบาย


ระบบ SME บ้านเราก็เหมือนกับระบบการกู้ทุนนั่นแหละครับ คนมีไอเดียดี ไม่ใช่ว่าจะกู้ได้


สิ่งแรกคือ ไม่มีทรัพย์สิน ไม่มีคนค้ำ

สิ่งที่สองสำคัญกว่าสิ่งแรก คือผู้ให้กู้ไม่มีความรู้ความเข้าใจในธุรกิจที่ผู้กู้นำเสนอ ดังนั้นถ้าไอเดียใหม่เกิน ล้ำเกิน ก็อาจจะไม่ผ่าน เวลากู้ ผู้กู้จึงควรหาวิธีการง่าย ๆ เพื่ออธิบายถึงภาพรวมของธุรกิจตัวเอง และเน้นเรื่องการได้ทุนคืนเพื่อนำมาจ่าให้กับธนาคาร

สิ่งที่สาม คนที่ไม่มีเส้นสายเลยจะขาดโอกาศในทางการตลาดพอสมควร อาศัยเป็นกระแสให้ดังยากมากกกก เพราะสื่อบ้านเราเน้นแต่คนที่มีกระแสเท่านั้นเพื่อที่สื่อของตนจะขายได้ คนอ่านเยอะ จะได้มีโฆษณา แต่ขนาดาราเอง หรือลูกหลานคนรวยเปิดร้านก็ยังเจ๊งเพียบ


เหนือกว่าทั้งสามสิ่ง คือ อาการเห่อหมอย อยากเป็นนายตัวเอง อยากเป้นวัยรุ่นพันล้าน ร้อยล้าน ตามหนังสือตอแหลทั้งหลาย พวกนั้นเกือบทั้งหมดเป็นธุรกิจครอบครัวครับ ไอ้หนุ่มน้อย สาวน้อย เป็นแค่ตัวแทนเฉย ๆ มาถึงไม่เคยทำงาน ไม่เคยล้ม สำเร็จเลยนี่ฝันไปละครับ

หลายกิจการเจ๊ง เพราะ คุณไม่เคยทำงานเลย ไม่เคยเป็นลูกจ้าง เชื่อว่าไอเดียชั้นดีสุดขายได้แน่ ปัญหาตอนนี้คือ ระบบบ้านเรา ศึกษาเพื่อจบทำงานตรงสายก็ไม่เวิร์ค ไอ้จะเตรียมความพร้อมเพื่อให้เขาเป็นผู้ประกอบการที่ดีก็ไม่เวิร์คอีก


บอกตรง ๆ ผมเองยังไม่รู้ว่าถ้าจะแก้ปัญหากันจริง ๆ เอาแค่เริ่มจะเริ่มตรงไหนดี 555

Fri 17 Nov 2017 : 4:53PM

"MnemoniC"
member

Since 2015-12-08 01:43:55
(5805 post)
ยิ่งเรียนสูงอัตราการว่างงานยิ่งสูงตามจริงๆครับ


กราฟระดับการศึกษาของคนตกงานเดือนมกราคม 59-60

ก็คือส่วนมากไปเรียนแล้วกลับมาช่วยธุรกิจที่บ้านไม่ได้ต่อสายงานที่ตัวเองเรียน อัตราการแข่งขันยิ่งสูงขึ้นเรื่อยๆกับเรียนแล้วตกงานในปัจจุบัน
สุดท้ายการศึกษายิ่งน้อย%ตกงานก็ยิ่งต่ำ ส่วนคนเก่งไม่จริงเข้าสภาสูบภาษีประชาชนต่อไป

[Edited 1 times "MnemoniC" - Last Edit 2017-11-17 16:56:51]

Fri 17 Nov 2017 : 10:15PM

"MnemoniC"
member

Since 2015-12-08 01:43:55
(5805 post)
ถ้าเอาในทางกฎหมายระดับอุดมศึกษาที่เป็นพระราชบัญญัติของมหาลัย
อย่างธรรมศาสตร์ปรับปรุงกฎหมายล่าสุดปี 2531 มี ๕๙ มาตรา จุฬาปรับปรุงกฎหมายล่าสุดปี 2551 มี ๘๖ มาตรา มหิดลปรับปรุงกฎหมายล่าสุดปี 2550 มี ๘๔ มาตรา ส่วนมหาวิทยาลัยขอนแก่นปรับปรุงกฎหมายล่าสุดปี 2558 และน่าจะเป็นมหาวิทยาลัยที่ปรับปรุงกฎหมายล่าสุดแล้ว ได้ท่านประยุทธ์รับสนองพระบรมราชโองการซะด้วย มี ๘๕ มาตรา
หรือในส่วนของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ปรับปรุงกฎหมายล่าสุดปี 2542 มี ๗๖ มาตรา

ด้านกฎหมายของมหาวิทยาลัยมันสำคัญตรงที่อธิการบดี ครู อาจารย์ นิสิต จะมีสิทธิในการจัดการปัญหาของสถาบันด้วยตัวเอง เพราะถูกคุ้มครองโดยกฎหมายอย่างถูกต้องแล้ว
จึงสามารถจัดตั้งทำกิจกรรมต่างๆได้อย่างเสรีโดยมีพระราชบัญญัติคุ้มครอง รวมถึงสามารถมีสภานักศึกษาจากการเลือกตั้งของนักศึกษากันเอง และสามารถจัดหาแต่งตั้งบุคลากรลูกจ้างของมหาลัยได้อิสระเช่นกัน

ปัญหาคือ อย่างกรณีคุณ เนติวิทย์ ที่มีคดีกับทางมหาวิทยาลัย กฎหมายตัวบทมาตรามันคุ้มครองนักศึกษามากกว่าอาจารย์ เมื่อเทียบกับพฤติกรรมของคุณ เนติวิทย์
หรืออย่างบางมหาวิทยาลัยที่โยกย้ายอาจารย์กันแบบมั่วซั่ว ไปเป็นตำแหน่งโน้นตำแหน่งนี้ในมหาวิทยาลัย เพื่อนั่งในตำแหน่งในฐานะลูกจ้างของมหาวิทยาลัย ล้วนแล้วมาจากข้อกฎหมายที่อ่อนแอต่อสถานการณ์ปัจจุบันทั้งสิ้น

มันสมควรแล้วครับที่ต้องรื้อทั้งระบบการศึกษาไทยครับ เพื่อให้ครูและนักเรียนมีข้อระเบียบร่วมกันแบบไม่ล้ำเส้นหรือก้าวก่ายกัน

Fri 17 Nov 2017 : 11:35PM

boszuza007
member

Since 2017-10-02 17:27:32
(294 post)
ผมงงและข้องใจนะว่าการแก้ระบบการศึกษาให้ก้าวหน้า ให้เปลี่ยนไป มันเป็นเรื่องที่ยอมระบไม่ได้ตรงไหน ตรงที่ให้เปลี่ยนการใช้อำนาจนิยมกดหัวเด็กมาเป็นวิธีการใช้จิตวิทยาให้เด็กคิดเป็น เอาตัวรอดเป็น ไม่กดหัวเด็กเกินไปรึฮะ

Sat 18 Nov 2017 : 12:03AM

"MnemoniC"
member

Since 2015-12-08 01:43:55
(5805 post)
boszuza007 wrote:
ผมงงและข้องใจนะว่าการแก้ระบบการศึกษาให้ก้าวหน้า ให้เปลี่ยนไป มันเป็นเรื่องที่ยอมระบไม่ได้ตรงไหน ตรงที่ให้เปลี่ยนการใช้อำนาจนิยมกดหัวเด็กมาเป็นวิธีการใช้จิตวิทยาให้เด็กคิดเป็น เอาตัวรอดเป็น ไม่กดหัวเด็กเกินไปรึฮะ
มันผิดมาทั้งระบบทั้งรูปแบบและโครงสร้างมาตั้งแต่เริ่มต้นแล้ว ไล่ตั้งแต่ กฎหมาย, รมว.กระทรวงศึกษาธิการ, งบประมาณในการจัดสรรลงสถานศึกษา, บุคลากร ครู อาจารย์ ลูกจ้างของสถาบัน,บริเวณแหล่งพื้นที่ของสถานศึกษาและประชากรผู้มีสิทธิในการศึกษา

ผมจะยกตัวอย่างบางระบบโครงสร้างที่สมควรแก้ไขแต่ทำไม่ได้ เวลาเข้าเรียนของระดับประถมและมัธยมคือก่อนเวลา ๐๘.๐๐ น. ใน กทม.หรือตามโรงเรียนในเมืองใหญ่ จะเกิดปัญหาแออัดรถติดมากมายจนนักเรียนเอง ต้องปรับตัวเดินทางเร็วกว่าคนที่เรียนอยู่โรงเรียนไม่มีปัญหาการเดินทาง ทำให้เวลาที่ใช้ในการศึกษาต่อวันมันมากกว่าที่กฎหมายกำหนด คือเสียเวลาไปกับการเดินทาง
แต่คือมันแก้ไม่ได้ด้วยปัจจัยหลายๆอย่าง แม้เอาคนที่เรียนแบบไม่มีปัญหาการเดินทางมาหักล้าง มันก็ยังไม่เอื้อที่จะขยายเวลาในการเดินทางให้ แต่ระดับสายอาชีพหรือมหาวิทยาลัยจะได้รับผลกระทบน้อยกว่า

เปลี่ยนระบบให้การศึกษาก้าวหน้าให้เด็กคิดเป็น เอาตัวรอดเป็นมันไม่ดีเหรอ?
ตอบ ก็ดูโครงสร้างคร่าวๆที่ผมเกริ่นข้างต้น การศึกษาเป็นเรื่องของผู้ใหญ่ เด็กเป็นทางผ่านเพื่อขอแลกวุฒิไปทำงาน และรูปแบบมันยังไม่มีส่วนไหนที่นักเรียน จะมีความคิดเห็นมากพอไปเสนอผู้ใหญ่ครับ

*อีดิท* นักศึกษาในระดับปัญญาชนหรืออุดมศึกษามีค่าเฉลี่ยต่อการจบหลักสูตรการศึกษาที่ 400,000 บาทต่อคน(บวกลบตามสาขาวิชาด้วยโดยเฉพาะแพทย์กับเภสัช)
400,000 บาทซักพันคนก็เป็นเงินหลายร้อยล้านแล้ว
400,000 × 1,000 = 400,000,000
พอจะเห็นระบบที่มันแก้ไขไม่ได้มั้ยครับ


[Edited 1 times "MnemoniC" - Last Edit 2017-11-18 00:21:28]


Reply
Vote




2 online users
Logged In :